วันอังคารที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2553






โครงการ 1 สือโฆษณาหน้าจอ

1) ชือโครง(Title)
ksr mini supersport bike


2) ข้อมลูเบื้องต้น(Background)

สปอร์ตัวจริง ดิสก์เบรคหน้าและหลัง โครงสร้างตัวถังแบบรถสปอร์ด้วยเหล็กกล้า high-tensile โช้คหน้าหัวกลับโช้คหลังเดียว ล้ออลูมิเนียมอัลลอย ยาง tubeless ปราดเปรียว ดุดันคล่องตัว มินิซูปเปอร์สปอร์ตพันธุ์แท้ตัวจริง ควาวาซากิ ksr สัมผัสตัวจริงได้ที่โชว์รูมคววาซากิ ถนนพระราม 9 วางจำหน่ายทั่วประเทศวันที่ 3 พฟศจิกายน 2553 ราคาปลีกแนะนำ 62.000 บาท (รวมภาษีมลูค่าเพิ่มแล้ว)

3) วัตถุประสงค์(Objective)

Kawasaki ตัดสินใจใช้ประโยชน์จากฐานผลิตในประเทศไทยด้วยการนำรถรุ่นที่ผลิต เพื่อต้องการส่งออกมาจำหนายทดแทนรถตลาดหนึ่งในนั้นที่ถือเป็นความสำเร็จของ Kawasaki ในวีนนี้ คือ KSR สตรีทไปค์สไตล์มินิโมตาร์ดขนาดเล็กแต่เร้าใจซึ่งได้สร้างความประทับใจให้กับผูใช้รถที่ต้องการความแตกต่าง และมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวไม่เหมือนใคร

4) แนวความคิด(Concept)

BIG INSIDE YOUR HEART

5) กลุ่มเป้าหมายหลัก (Main Target)

เพื่อตอบสนองกลุ่มเป้าหมายรุ่นใหม่ ตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไปที่รักความอิสระ ไม่ชอบตามแบบใคร มีสไตล์เป็นของตัวเอง ชอบความท้าทาย รักการขับขี่ ด้วยรูปทรงที่เท่ โฉบเฉียว สไตส์สปอร์ตโดนใจกับบอร์ดี้เล๊กกะทัดรัดเหมาะสำหรับขับขี่ในเมื่อง


6) เหตุผลสนับสนุนแนวคิด(Support)

เนื่องจากการจัดงานมอเตอร์โชว์หรืองานต่างๆเกียวกับรถ บริษัท Kawasaki


7) อารมณ์และความรู้สึก(Mood&Tone)

สวย/คุณภาพ/ล้ำสมัย



วันอังคารที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

การใช้ภาพที่ไม่คาดคิด
1.การอุปมาทางการเห้น



2.การใช้ภาพแบบเหมือนจิง



3.การสร้างความผิดปกติจากของจริง




4.การรวมกันของสิ่งที่ไม่เกี่ยวข้องกัน


5.การใช้มุมกล้องแทนสายตาผู้ดูหรือผู้ถ่าย



6.การล้อเลียน



7.ภาพที่มีขนาดไม่ปกติ



1.ชื่อเรื่อง (Title)
Facebook
2.ข้อมลูเบืองต้น(background)
เฟชบุ๊ก (facebook) เป็นการบริการเครือข่ายสังคมและเว็บไซค์ เปิดใช้เมื่อ 4 กุมภาพันธ์ ค.ศ 2004 ดำเนินงานและมีเจ้าของคือษริษัท เฟชบุ๊ก จากข้อมลูเดือนกรกฏาคม ค.ศ 2010 เฟชบุ๊กมีผู้ใช้ประจำ 500 ล้านบัญชี ผู้ใช้สามารถสร้างข้อมลูส่วนตัวเพิ่มรายชื่อผูใช้อื่นในฐานนะเพื่อนและแลกเปลียนข้อความ รวมถึงได้รับแจ้งโดยรับแจ้งโดยรับแจ้งโดยทันที่เมือพวกเขาปรับปรุงข้อมลูส่วนตัว นอกจากนั้นผู้ใช้ยังสามารถร่วมกลุ่มความสนใจส่วนตัวจัดระบบตาม สถานที่ทำงาน โรงเรียน มหาวิทยา หรืออืนๆ ชื่อของเฟชบุ๊กนั้นมาจากชื่อเรียกภาษาปากของสมุดที่ให้กับนักเรียนเมื่อเริ่มแรกเรียนในสถาบันอุดรศึกษา ที่มอบให้โดยคณะบริหารมหาวิยาลัยในสหรัฐอเมริกา เพื่อช่วยให้นักเรียนสามารถรู้จักผู้อื่นได้ดีมากขึ้นเฟชบุ๊กอนุญาตให้ใครก็ได้เข้าสมัครลงทะเบียนกับเฟฃบุ๊ก โดยต้องการมีอายุมากกว่า 13 ปีข้ไป
3.วัตถุประสงค์(objective)
1.เพื่อการติดต่อเรื่องต่างๆ
2.เพื่อแลกเปลียนข้อมลูข่าวสาร
3.เพื่อความบันเทิงหรือเกมส์
4.เพื่อการติดต่อซื่อขายสินค้า
4.กลุ่มเป้าหมายหลัก (Main Target)
1.ผู้บริโภคทั่วไป
2.กลุ่มวัยรุ่น หญิง ขาย
3.กลุ่มคนทำงาน
5.แนวความคิด(Concept)
- รวดเร็ว วองไว ง่าย
6.เหตุผลการสนับสนุนแนวความคิด(Support)
-เว็บไซค์นี้เป็นเว็บไซค์ติดต่อพูดคุยแลกเปลียนความเห็นเห็นในเรื่องทั่วไป เว็บไซค์เว็บนี้ได้รับความนิยมในหมู่วัยรุ่นเป้นส่วนใหญ่ เนื่องจากเว็บ (facebook) เปรียบเหมือนโปรไฟล์ส่วนตัวไว้ติดต่อพูดคุยกันในหมู่วัยรุ่น
7.อารมณ์และความรู้สึก (Mood & tone)
- สนุก บันเทิง ตื่นเต้น






















แนวโน้มการนำเสนอนิเทศศาสตร์

" ทิศทางการวิจัยด้านนิเทศศสตร์ " อนาคตของสืออยู่ในมือของทุกคน






1.สือใหม่ที่เกิดขึ้นและเปลียนแปลงบทบาทของผู้รับสาร

2.การรูเท่าทันสือเพื่อพัตนาคุณภาพชีวิตและไม่ตกเป็นเครื่องมือของกลุ่มการเมือง

3.จริยธรรมและอุดรการณ์ของสือเพื่อความเป็นกลางในการนำเสนอข้อมลูข่าวสาร

4.การวิจัยด้านภาพยนตร์


1.สือใหม่ที่เกิดขึ้นกับการเปลียนแปลงของผูรับสาร
จากจำนวนผูใช้เครือค่ายสังคมออนไลน์เช่น เฟชบุ๊ค (facebook) ที่เพิ่มขึ้น ทำให้เกอดการสือสารตอบโต้กันได้ในทันที่กลุ่มใหญ่ที่สมาชิกทุกคนสามารถมีส่วนรวมในการสือสารในฐานะเป็นผูสงสารได้ จนเกิดเหตุการณ์ที่มีกลุ่นผู้ใช้เฟสบุ๊คนัดรวมตัวกันเพื่อเรียกร้องทางการเมือง


2.การรูเท่าทันสื่อเพื่อพัตนาคุนภาพชีวิตและไม่ตกเป็นเครื่องมือของกลุ่มธุรกิจหรือการเมือง
ทำอย่างไรคนไทยจะแยกได้ว่าอะไรคือความคืดเห็น อะไรคือความจริง ทั้งนี้อายุของงานวิจัยควรเน้นที่เป้าหมายไม่ใช่ตามความถนัดของผูวิจัย


3.จริยธรรมและอุดรการณ์ของสื่อเพื่อความเป็นกลางในการนำเสนอข้อมลูข่าวสาร
การปรับตัวของสือมวลชนอาชีพที่จะอยู่รอดจากการแทรงแซงของกลุ่มธุรกิจและการเมือง ความเป็นกลางของสื่อการควบคุมสื่อเฉพาะกิจเพื่อตอบสนองความต้องการของกลุ่มคนหรือสังคม


4.งานวิจัยด้านภาพยนตร์
ปัจจุบันงานที่เกียวข้องกับภาพยนตร์มีน้อยมาก ทำให้ขาดความรูพื้นฐานและสร้างองค์ประกอบการเรียนรู้พี้นฐานไม่ได้ ควรมีการสอนวิชาภาพยนตร์ไทยและมีการวิจัยในส่วนนี้